สำนักงานทนายความ

ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
พิมพ์ชื่อประเทศของเราลงไป ::

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Preecha Yokthongwattana
« เมื่อ: มีนาคม 27, 2013, 03:45:17 PM »

ตามพรบ.คุ้มครองแรงงาน นายจ้างไม่มีสิทธิหักเงินเดือนหรือไม่ให้เงินเดือนอยู่แล้วครับ คุณสามารถแจ้งไปยังพนักงงานตรวจแรงงานในเรื่องนี้ได้ครับ การจงใจไม่จ่ายค่าจ้างนอกจากเป็นความผิดทางแพ่งที่มีเบี้ยปรับสูงโดยลูกจ้างอาจเรียกเงินเพิ่มได้ถึงร้อยละ 15 ทุก 7 วันแล้ว ยังเป็นความผิดทางอาญาที่นายจ้าง (อาจเป็นกรรมการบริษัท) จะต้องถูกดำเนินคดีอาญาซึ่งมีทั้งโทษจำคุกและโทษปรับด้วยครับ ส่วนเรื่องใช้งานไม่ตรงตามตำแหน่ง เป็นเรื่องนายจ้างผิดสัญญาหรือไม่ทำตามสัญญานั้นต้องดูข้อสัญญาครับ
ข้อความโดย: Mr.A
« เมื่อ: มีนาคม 08, 2013, 07:11:56 PM »

 คือกรณีผมออกจากบริษัทเนื่องจากบริษัทใช้งานตำแหน่งที่ไม่ตรงกับตำแหน่ง ใช้งานทุกอย่างเกี่ยวกับ IT และผมก็เหนื่อยทนไม่ได้ จึงเขียนใบลาออกมาโดยที่เขียนแล้วออกมาเลย

แต่พอ 1 วัน ระบบล่ม (ตรงนี้ไม่มีปัญหาแล้ว)

พอวันนี้ผมยังไม่ได้เงินเดือน และนายจ้าง ก็บอกว่าเว็บเข้าอะไรไม่ได้ ผ่านมาตั้งนานไม่รู้จักโทรมาเอง แต่ผมบอกว่าไม่ได้แก้อะไรเลย เอกสารก็มี user&Password มีครบ (แต่กลัวโดนแกล้งเอาไปทิ้งมากกว่า) นายจ้างบอกว่า จะอายัดเงินเดือนแล้วฟ้อง นายจ้างเป็นคนต่างชาติ

แต่ที่หน้าเว็บผมได้ทำถูกต้องแล้ว เพราะ นายจ้างผู้หญิงเข้าสั่งเองว่า ให้ปรับปรุงเว็บ จะอัพข้อมูลขึ้น ผมก็บอกว่าคุณสั่งผมทำจะมาฟ้องอะไร แล้วให้เข้าไปแก้ ผมบอกว่าไม่ใช่พนักงานบริษัท เกิดเข้าไปแล้วเสียหาย มาโทษผมอีก เพราะไม่ใช่พนักงานแล้ว ข้อมูล database ก็ ครบ เพียงแต่เนื้อหา นายจ้างบอกเองปรับปรุง โดยไม่ได้บอกให้เก็บไว้ แต่มีข้อมูลอยู่บางส่วน


กรณียังงี้ นายจ้างสามารถฟ้องเราได้ไหมครับ

ปล.ไม่เข้าตรงไหนผมจะเข้ามาอธิบายครับ เว็บสำนักทนายความ

ขอบคุณครับ